หน้าแรก
สอนนับเลขฐาน 2 จำนวน 1-100
- รายละเอียด
- เขียนโดย ครูวิภาวี
ตรวจสอบการส่งงาน ใบงานที่ 1 เขียนโครงร่างเรื่องราว วิชาโปรแกรมสร้างภาพเคลื่อนไหว กลุ่ม พค 21 22 23
- รายละเอียด
- เขียนโดย ครูวิภาวี

นับเลขฐาน 8 วิธีการนับ ฐาน 10 จาก 1-100 แปลงให้เป็นเลขฐาน 8 ง่าย มาก ๆ
- รายละเอียด
- เขียนโดย ครูวิภาวี
โจทย์ นับเลขฐาน 8 วิธีการนับ ฐาน 10 จาก 1-100 แปลงให้เป็นเลขฐาน 8 ง่าย มาก ๆ
ค่าประจำหลักของเลขฐาน 8
หลักที่ 5 |
หลักที่ 4 |
หลักที่ 3 |
หลักที่ 2 |
หลักที่ 1 |
หลักที่ 0 |
85 |
84 |
83 |
82 |
81 |
80 |
32,768 |
4,096 |
512 |
64 |
8 |
1 |
อ่านเพิ่มเติม: นับเลขฐาน 8 วิธีการนับ ฐาน 10 จาก 1-100 แปลงให้เป็นเลขฐาน 8 ง่าย มาก ๆ
โจทย์ เลขฐาน 2 วิธีการแปลงเลข ฐาน 10 1-100 ให้เป็นเลขฐาน 2 ง่าย มาก ๆ
- รายละเอียด
- เขียนโดย ครูวิภาวี
โจทย์ เลขฐาน 2 วิธีการแปลงเลข ฐาน 10 1-100 ให้เป็นเลขฐาน 2 ง่าย มาก ๆ
ค่าประจำหลักของเลขฐาน 2
หลักที่5 |
หลักที่ 4 |
หลักที่ 3 |
หลักที่ 2 |
หลักที่ 1 |
หลักที่ 0 |
25 |
24 |
23 |
22 |
21 |
20 |
32 |
16 |
8 |
4 |
2 |
1 |
อ่านเพิ่มเติม: โจทย์ เลขฐาน 2 วิธีการแปลงเลข ฐาน 10 1-100 ให้เป็นเลขฐาน 2 ง่าย มาก ๆ
คะแนนสอบหลังเรียนหน่วยที่ 1 กลุ่ม พค 21 วิชาโปรแกรมสร้างภาพเคลื่อนไหว
- รายละเอียด
- เขียนโดย ครูวิภาวี
นางสาวกนกวรรณ กะสี | 4 |
นางสาวกวิสรา ก้อนคํา | 5 |
นายก้องภพ นวนันท์ | 8
อ่านเพิ่มเติม: คะแนนสอบหลังเรียนหน่วยที่ 1 กลุ่ม พค 21 วิชาโปรแกรมสร้างภาพเคลื่อนไหว ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพเคลื่อนไหว
1.1.1 ความหมายของภาพเคลื่อนไหว ภาพเคลื่อนไหว หมายถึง ภาพที่สร้างขึ้นโดยการนำภาพนิ่งหลาย ๆ ภาพมาฉายต่อเนื่องกันด้วยความเร็วสูง ทำให้เกิดภาพลวงตาของการเคลื่อนไหวปกติความเร็วของภาพเคลื่อนไหวจะฉายด้วยความเร็วที่ต่างกันขึ้นอยู่กับชนิดของการแสดงผล (Output) ถ้าฉายเป็นภาพยนตร์จะฉายด้วยความเร็ว 24 เฟรมต่อวินาที ถ้าถ่ายทอดในระบบ PAL จะฉายด้วยความเร็ว 25 เฟรมต่อวินาที แต่ในระบบ NTSC จะฉายด้วยความเร็ว 29.97 หรือ 30 เฟรมต่อวินาที สามารถนำภาพเคลื่อนไหวประยุกต์ใช้กับงานต่าง ๆ ได้มากมาย เช่น งานนำเสนอ ภาพยนตร์ โทรทัศน์ เกมส์ สถาปัตย์ สื่อการเรียนการสอน งานก่อสร้าง งานด้านวิทยาศาสตร์ หรืองานพัฒนาเว็บไซต์ เป็นต้น ซึ่งการนำเสนอโดยใช้ภาพเคลื่อนไหวทำให้จากเรื่องราวที่อธิบายยากกลายเป็นเรื่องง่ายขึ้นทำให้เกิดการจินตนาการอย่างไร้ขอบเขต ไม่มีการปิดกั้นทางความคิด สามารถใช้ความคิดได้อย่างอิสระเสรี เน้นให้ส่วนสำคัญเกิดความกระจ่างและชัดเจนขึ้น เป็นการใช้ภาพอธิบายได้ดี ช่วยทำให้สิ่งที่เป็นนามธรรมกลายเป็นรูปธรรมได้อย่างชัดเจนและดีขึ้น รู้หรือไม่ว่า ภาพเคลื่อนไหว เกิดมาจากสิ่งประดิษฐ์ที่เป็นของเล่น
ภาพหมุน (Thaumatrope) (อ่านว่า ธัมมาโทรป) เป็นของเล่นที่ประดิษฐ์ขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2368 (ค.ศ. 1825) โดย ดร.วิเลี่ยม เฮนรี่ ฟิตตอน (Dr. William Henry Fitton) ซึ่งได้แนวคิดมาจากเซอร์จอห์น เฮอร์เซล ผู้ที่สังเกตว่าสายตามนุษย์สามารถมองเห็นภาพทั้งสองด้านของเหรียญที่หมุนอยู่ได้พร้อมกัน ทำจากกระดาษแข็งตัดเป็นวงกลม โดยมีรูปภาพหรือภาพวาดทั้งสองด้าน เช่น ถ้าวาดภาพด้านหนึ่งเป็นกรงนกส่วนอีกด้านหนึ่งวาดเป็นรูปนก เจาะรูด้านซ้ายและขวาของวงกลมนั้นแล้วผูกเชือก เมื่อดึงเชือกให้ภาพพลิกไปมาเร็ว ๆ จะเห็นภาพทั้งสองด้านของกระดาษรวมเป็นภาพเดียวกัน นั่นคือ จะเห็นภาพนกอยู่ในกรงได้ ซึ่งคำว่า Thaumatrope มาจากภาษากรีก หมายถึง Wonder Turning หรือ มหัสจรรย์แห่งการหมุน การใช้เทคนิคการถ่ายภาพ วาดรูป หรือการนำรูปถ่ายแต่ละภาพที่ค่อย ๆ ขยับ เรียกว่า ภาพเคลื่อนไหวแบบการเคลื่อนที่หยุดหรือสตอปโมชั่น (Stop Motion) ซึ่งไม่ว่าจะสร้างภาพหรือสร้างเฟรมเก็บรูปภาพด้วยวิธีใดก็ตาม เมื่อนำภาพดังกล่าวมาฉายต่อกันด้วยความเร็ว ตั้งแต่ 16 เฟรมต่อวินาทีขึ้นไป จะเห็นเหมือนว่า ภาพดังกล่าวเคลื่อนไหวได้ต่อเนื่องกัน เนื่องจากการเห็นภาพติดตาทำให้เกิดภาพลวงตาที่มีลักษณะของการเคลื่อนไหว ติวvnetเด็กคอมควรรู้ก่อนเรียนจบผลงานการสร้างเว็บไซต์ 2562สมัครขายภาพถ่ายคลิกเลยจ้า
สถิติผู้เยี่ยมชม3882720
Today Yesterday This Week Last Week This Month Last Month All days 2515 10515 29483 3818807 87521 69510 3882720 2025-04-20 08:36
ข้อมูลที่ปรึกษา |