ข่าวสารประชาสัมพันธ์
ข้อสอบการแปลงเลขฐาน ครั้งที่ 2
- รายละเอียด
- เขียนโดย ครูวิภาวี
ข้อสอบวิชาคณิตศาสต์คอมพิวเตอร์ หน่วยที่3 การแปลงเลขฐาน ชุดที่ 2 คลิก
ขอเชิญเข้าร่วมชั้นเรียนวิชาคณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์กลุ่ม พค 32
- รายละเอียด
- เขียนโดย ครูวิภาวี
รหัส ของชั้นเรียน kyksqrb กลุ่มพค 32 ให้ดาวน์โหลด Application Zoom ไว้ในเครื่องเพื่อใช้เรียนภาคทฤษฎี ตามตารางเรียน เริ่มเรียน 08.00-14.00 น.
ตรรกศาสตร์คอมพิวเตอร์ ตอนที่ 3
- รายละเอียด
- เขียนโดย ครูวิภาวี
- ประพจน์ที่สมมูลกัน
ประพจน์ที่สมมูลกัน หมายถึง ค่าความจริงของประพจน์ 2 ประพจน์ที่มีค่าความจริงเหมือนกันทุกกรณี
สัญลักษณ์ของประพจน์ที่สมมูลกัน คือ
สัญลักษณ์ของประพจน์ที่ไม่สมมูลกัน คือ
ตัวอย่าง (P↔ Q) กับ (P→Q) ⋀ (Q→P)
ตรรกศาสตร์คอมพิวเตอร์ ตอนที่ 4
- รายละเอียด
- เขียนโดย ครูวิภาวี
ตรรกศาสตร์คอมพิวเตอร์ ตอนที่ 4
- การเชื่อมประพจน์ 3 ประพจน์ การเชื่อมประพจน์ กรณี 3 ประพจน์จะมีค่าความจริง ที่แสดงได้ 23 = 8 กรณี
ตัวอย่าง [(P⋀ Q) ↔ (R V~(P→Q)) ]
ตารางค่าความจริง
P |
Q |
R |
(P→Q) |
~(P→Q) |
(R V~(P→Q)) |
[(P⋀ Q) |
[(P⋀ Q) ↔ (R V~(P→Q)) ] |
T |
T |
T |
T |
F |
T |
T |
T |
T |
T |
F |
T |
F |
F |
T |
F |
T |
F |
T |
F |
T |
T |
F |
F |
T |
F |
F |
F |
T |
T |
F |
F |
F |
T |
T |
T |
F |
T |
F |
F |
F |
T |
F |
T |
F |
F |
F |
T |
F |
F |
T |
T |
F |
T |
F |
F |
F |
F |
F |
T |
F |
F |
F |
T |
ตรรกศาสตร์ตอนที่ 2 สัจนิรันดร์และความขัดแย้ง
- รายละเอียด
- เขียนโดย ครูวิภาวี
ตรรกศาสตร์ ตอนที่ 2
สัจนิรันดร์และความขัดแย้ง
สัจนิรันดร์ คือ ประพจน์ที่มีค่าความจริงทุกกรณี ตัวอย่าง
- จงเขียนตารางค่าความจริง ของประพจน์ต่อไปนี้ P→(PvQ)