นโยบาย สอศ
- Détails
- Écrit par ครูวิภาวี
โครงการตามแผนปฏิบัติราชการ 2564 |
ประเด็นที่ควรปรับให้สอดคล้องกับนโยบาย |
1) โครงการพัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การวัดประเมินผลเพื่อการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการจัดการอาชีวศึกษา |
- พัฒนาหลักสูตรให้มีความทันสมัยและมุ่งตอบโจทย์ความต้องการของประเทศ - พัฒนาสื่อการเรียนรู้ (On-site, On-Air,Online, On-Demand) |
2) โครงการพัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) |
เน้นพัฒนาวิทยาลัยเพื่อความเป็นเลิศและความเชี่ยวชาญเฉพาะ |
3) โครงการขยายและยกระดับอาชีวศึกษาทวิภาคีสู่คุณภาพมาตรฐาน |
ยกระดับการดำเนินงานให้เข้มข้นมากยิ่งขึ้น |
4) โครงการขับเคลื่อนความร่วมมือการจัดการอาชีวศึกษาระหว่างภาครัฐและเอกชน |
ยกระดับความร่วมมือและเพิ่มบทบาทในการจัดการศึกษากับภาคเอกชน |
5)โครงการพัฒนาความร่วมมืออาชีวศึกษาสู่มาตรฐานนานาชาติ |
ยกระดับความร่วมมือในการพัฒนาและยกระดับอาชีวศึกษากับต่างประเทศ |
6)โครงการฝึกอบรมวิชาชีพระยะสั้นฐานสมรรถนะ (Education To Employment) |
Re-Slills, up-Slills, New -Skills |
7) โครงการขับเคลื่อนวิทยาลัยสารพัดช่างเพื่อพัฒนากำลังคนสู่ทักษะเฉพาะกลุ่มอาชีพ |
นำกลุ่มวิทยาลัยการอาชีพมาร่วมบูรณาการการดำเนินงาน |
8)โครงการพัฒนาผู้เรียนอาชีวศึกษาให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์และทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 |
ภาษาอังกฤษ/จีน ดิจิทัล |
9)โครงการเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา |
Human Resource High Performance |
10)โครงการยกระดับความรู้และทักษะวิชาชีพครูอาชีวศึกษาสู่ประเทศไทย 4.0 (UPGRADE) |
Excellence Teacher |
11)โครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ |
ปรับเปลี่ยนรูปแบบและวิธีการพัฒนา |
12)โครงการสร้างค่านิยมอาชีวศึกษา |
ขับเคลื่อนในทิศทางการ Re-Branding |
- Détails
- Écrit par ครูวิภาวี
- Détails
- Écrit par ครูวิภาวี
นโยบายและจุดเน้นการปฏิบัติราชการ ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
“อาชีวศึกษายกกำลัง 2 สร้างคุณภาพ นำปริมาณ”
- พัฒนาวิทยาลัยเพื่อความเป็นเลิศและความเชี่ยวชาญเฉพาะ
- ยกระดับศักยภาพของทุนมนุษย์ของประเทศ ( Re-Skills ,Up-Skills , New -Skills)
- ยกระดับความร่วมมือและเพิ่มบทบาทในการจัดการศึกษากับภาคเอกชนอย่างเข้มข้น
- พัฒนาหลักสูตรให้มีความทันสมัยและมุ่งตอบโจทย์ความต้องการของประเทศ
- พัฒนาสื่อการเรียนรู้ (On-site , On -Air , Online , On- Demand)
- พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะ ในศตวรรษที่ 21
(สมรรถนะทางวิชาชีพ ภาษาอังกฤษ/จีน ดิจิทัล)
- Détails
- Écrit par ครูวิภาวี
Page 2 sur 2