Home
การบวกเลขฐาน 2 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ summer course หน่วย 4/1
- Details
- Written by ครูวิภาวี
สอนการคูณการหารเลขฐานต่าง ๆ
- Details
- Written by ครูวิภาวี
ประกาศคะแนนสอบ logic คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์
- Details
- Written by ครูวิภาวี
ประกาศคะแนนสอบ logic คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ กลุ่ม พค23 คลิกดู เฉลยข้อสอบพีชคณิตบูลีน
ตรรกศาสตร์คอมพิวเตอร์ ตอนที่ 4
- Details
- Written by ครูวิภาวี
ตรรกศาสตร์คอมพิวเตอร์ ตอนที่ 4
- การเชื่อมประพจน์ 3 ประพจน์ การเชื่อมประพจน์ กรณี 3 ประพจน์จะมีค่าความจริง ที่แสดงได้ 23 = 8 กรณี
ตัวอย่าง [(P⋀ Q) ↔ (R V~(P→Q)) ]
ตารางค่าความจริง
P |
Q |
R |
(P→Q) |
~(P→Q) |
(R V~(P→Q)) |
[(P⋀ Q) |
[(P⋀ Q) ↔ (R V~(P→Q)) ] |
T |
T |
T |
T |
F |
T |
T |
T |
T |
T |
F |
T |
F |
F |
T |
F |
T |
F |
T |
F |
T |
T |
F |
F |
T |
F |
F |
F |
T |
T |
F |
F |
F |
T |
T |
T |
F |
T |
F |
F |
F |
T |
F |
T |
F |
F |
F |
T |
F |
F |
T |
T |
F |
T |
F |
F |
F |
F |
F |
T |
F |
F |
F |
T |
ตรรกศาสตร์คอมพิวเตอร์ ตอนที่ 3
- Details
- Written by ครูวิภาวี
- ประพจน์ที่สมมูลกัน
ประพจน์ที่สมมูลกัน หมายถึง ค่าความจริงของประพจน์ 2 ประพจน์ที่มีค่าความจริงเหมือนกันทุกกรณี
สัญลักษณ์ของประพจน์ที่สมมูลกัน คือ
สัญลักษณ์ของประพจน์ที่ไม่สมมูลกัน คือ
ตัวอย่าง (P↔ Q) กับ (P→Q) ⋀ (Q→P)
ตรรกศาสตร์ตอนที่ 2 สัจนิรันดร์และความขัดแย้ง
- Details
- Written by ครูวิภาวี
ตรรกศาสตร์ ตอนที่ 2
สัจนิรันดร์และความขัดแย้ง
สัจนิรันดร์ คือ ประพจน์ที่มีค่าความจริงทุกกรณี ตัวอย่าง
- จงเขียนตารางค่าความจริง ของประพจน์ต่อไปนี้ P→(PvQ)
สอนเรื่องตรรกศาสตร์เบื้องต้น ตอนที่ 1
- Details
- Written by ครูวิภาวี
เรียนรู้เรื่องตรรกศาสตร์
การเชื่อมประพจน์
- ตัวเชื่อม “และ“ “^”
P |
Q |
P^Q |
T |
T |
T |
T |
F |
F |
F |
T |
F |
F |
F |
F |
สรุป T^T เท่านั้นที่เป็น T นอกนั้นเป็น F
เฉลย แบบฝึกหัดวิชาคณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์
- Details
- Written by ครูวิภาวี
การหารฐาน16 A85D/2D = 3BD เศษ 24
การบวกเลขต่างฐาน FD5(16)+377(8)+110110(2) =10412 ฐาน 8
การลบเลขต่างฐาน E2D(16)-43(8)-1101(2)= = 110111111101ฐาน2
การคูณเลขต่างฐาน 375(8)xF16(16)= = 11101110100010111110ฐาน2
การหารเลขต่างฐาน AF2D(16)/75(8)= 1337ฐาน8 เศษ 12